หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม ส่วนร่วม
พระปิดตาหลวงปู่จีน วัดท่าลาด พิมพ์แข้งหมอนใหญ่
เผยแพร่ หรือ อ่านบทความพระเครื่อง ฟรี
ไม่ผ่านการตรวจสอบ เนื่องจาก ภาพไม่ชัด / ข้อมูลไม่ครบ /ผิดเงื่อนไข (เช่น ลงพระซ้ำ) เมื่อไม่ ผ่านการตรวจสอบจะลบประกาศออกทันที หากต้องการแก้ไขหรือเพิ่มเติมให้ลงใหม่เท่านั้น
ข้อมูล :สมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย,หนังสือ "วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดลำพูน"
รวมพญาครุฑ วัดโพธิทอง พญาครุฑหลวงพ่อวราห์ทุกรุ่นนิยม ราคาแพง
The Phra Kring is usually a metallic statuette within the impression of the meditating Buddha, that is only made in Thailand. The Phra Kring is basically a Mahayana-model Buddha image, even though Thailand adheres to Theravada Buddhism. The beliefs about the powers on the Phra Kring, are which the Phra Kring is the picture of Pra Pai Sachaya Kuru (พระไภษัชยคุรุ Bhaisajyaguru, 藥師佛 Yàoshīfileó, in Chinese, or in Japanese 'Yakushi'), the medicine Buddha. The picture is Commonly in the posture of sitting and Keeping an alms bowl or simply a guava, gourd or a vajra. This was a fully enlightened Buddha, who reached purity of system and thoughts, and who was a great teacher of human beings, that has the wonder that he who hears his identify in passing, or see his image, will probably be healed, and Dwell a protracted balanced and prosperous lifestyle with wealthy standing.
ระบบค้นพบว่าคุณพึ่งเคยเข้า เป็นครั้งแรก
รู้จัก "พระรอด" ชื่อนี้มีที่มายังไง ตำนานพระเครื่องเก่าแก่แห่งหริภุญชัย ของแท้อายุนับพันปี
o ในครั้งต่อไป สามารถเข้าระบบ โดยกรอกอีเมล และ รหัสผ่าน ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้
ประมูล พระเครื่อง หน้า ประมูลพระเครื่อง
พระปิดตาหลวงปู่เอี่ยม@พิมพ์ว่าวจุฬา
เว็บไซด์ พระพันธุ์ทิพย์ดอทคอม มีจุดมุ่งหมายที่จะร่วมพัฒนาเว็บไซด์พระเครื่องในประเทศไทย ให้มีมาตรฐาน มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ ข้อกำหนดและเงื่อนไขดังต่อไปนี้ จึงขอให้ผู้ใช้งานปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด โปรดอ่านอย่างละเอียดและครบถ้วน
พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยราวสมัยทวารวดีพร้อมกับความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ 1 ในสมัยทวารวดีได้รับเอาคติความเชื่อของชาวอินเดียเข้ามาโดยตรงส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยทวารวดีมีวัตถุประสงค์การสร้างเหมือนกับอินเดีย คือ การสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาซึ่งเป็นความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องปัญจอันตรธานซึ่งปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา เมื่อพุทธศาสนาแผ่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่าง ๆ แต่ละพื้นที่ อาทิ พุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเชื่อเรื่องการบำเพ็ญบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ ส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัยจากที่สร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายและเป็นการสะสมบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ในภายหน้า เป็นต้น